กำหนดการ – 12 กุมภาพันธ์ 2559 (การประชุมวิชาการระดับชาติ – ความเชื่อ เรื่องเล่า ตำนาน กับชาติพันธุ์ในลุ่มน้ำโขง)

08.00 – 09.00

ลงทะเบียน

09.00 – 12.30

สกลนครศึกษา

ศาสนาและชาติพันธุ์ของเมืองในแอ่งสกลนคร จากบันทึกของชาวตะวันตกในคริสต์ศตวรรษที่ 19 
     อาจารย์ภูริภูมิ ชมพูนุช 
     – คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

โหราศาสตร์ชาติพันธุ์ในแอ่งสกลนคร 
     อาจารย์สถิตย์ ภาคมฤค 
     – คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

การศึกษาอุปลักษณ์ “ขวัญ” ในบทสูตรขวัญของกลุ่มชาติพันธุ์ไท–ญ้อจังหวัดสกลนคร 
     ประชารัตน์ เผ่าบุญเกิด 
     – นักศึกษาปริญญาเอก สาขาวิชาภาษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

การช่วงชิงพื้นที่หลังความตายกับพิธีกรรมบูชาผีบรรพบุรุษในวัดพระธาตุเชิงชุม
     ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปกกสิณ ชาทิพฮด 
     – คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

12.30 – 13.30

รับประทานอาหารกลางวัน

13.30 – 16.00

อำนาจที่มองไม่เห็นในเรื่องเล่าและพิธีกรรม

สิ่งศักดิ์สิทธิ์ มนุษย์ และสัตว์ในตำนานข้าวของชาวจ้วง สิบสองปันนา ประเทศจีน และชาวอีสาน ประเทศไทย
     อาจารย์ ดร.อุมารินทร์ ตุลารักษ์ 
     – คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

พิธีส่งเคราะห์บ้าน: กรณีศึกษาชาวไทลื้อบ้านแวน อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา
     ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชญานนท์ แสงศรีจันทร์ 
     – คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

พระโพธิสัตว์กับภาพตัวแทนคติความเชื่อและอำนาจดั้งเดิม: นาค แถน และ แดนผี
     สุทธินันท์ ศรีอ่อน 
     – นักศึกษาปริญญาเอก คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

พลังอำนาจทางภาษาและการสร้างอุดมการณ์ในหนังสือธรรมะของพระสายปฏิบัติอีสาน    
     กุสุมา  สุ่มมาตร์
     – นักศึกษาปริญญาเอก คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม