Photo Source

เกี่ยวกับ eBooks

สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มุ่งเผยแพร่องค์ความรู้ไทยศึกษาในโลกไร้พรมแดน ผ่านระบบเครือข่ายสื่อสารด้วยวิทยาการและเทคโนโลยีสมัยใหม่ จึงได้ดำเนินการคัดเลือกเอกสาร และหนังสือที่มีความสำคัญต่อการศึกษาวิจัยด้านไทย-ไทศึกษา นำมาจัดทำเป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (eBook) เผยแพร่ทางเว็บไซต์ของสถาบัน เพื่อประโยชน์ต่อสาธารณะในการค้นคว้าความรู้ด้านไทย-ไทศึกษา โดยแบ่งหมวดหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เป็น 3 ประเภท ได้แก่

 

1) งานวิจัยของสถาบันไทยศึกษา จุฬากลงกรณ์มหาวิทยาลัย

 

2) เอกสารและหนังสืออนุรักษ์

 

3) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ

ทำเนียบผลงานวิจัย พ.ศ. 2518-2544

สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ส่งเสริมการวิจัยเรื่องเกี่ยวกับไทยแบบบูรณาการ หรือสหสาขาวิชามาอย่างต่อเนื่อง ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2518-2544 สถาบันฯ ได้สนับสนุนงานวิจัยในหลายเรื่อง อาทิ ความเป็นมาและการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตไทย, การอนุรักษ์และสืบสานวัฒนธรรมไทย, ลักษณะความเป็นไทย : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต, กรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี, ภูมิปัญญาไทย, วัฒนธรรมชนชาติไท เป็นต้น รวมทั้งสิ้น 95 เรื่อง โดยได้จัดทำเป็น ทำเนียบผลงานวิจัยไทยศึกษา พ.ศ. 2518-2544 เพื่อประโยชน์ในการค้นคว้าวิจัยต่อไป

 

ทำเนียบผลงานวิจัยด้านไทยศึกษา พ.ศ. 2518-2544

ความเป็นมาและการเปลี่ยนแปลงของชีวิตไทย

การใช้คำเรียกขานในภาษาไทยสมัยกรุงรัตนโกสินทร์

     ม.ร.ว.กัลยา ติงศภัทิย์, อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์

 

การแต่งกายสตรีกับหัตถกรรมทอผ้าในสังคมไทยสมัยรัตนโกสินทร์

     สุวดี ธนประสิทธิ์พัฒนา

 

การปรับเปลี่ยนสู่สังคมสมัยใหม่ของไทย ศึกษากรณ๊มหาวิทยาลัยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2

     ไพฑูรย์ สินลารัตน์

 

ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อ และแนวการปฏิบัติ ในสมัยสุโขทัยถึงสมัยอยุธยาตอนกลาง

     สุภาพรรณ ณ บางช้าง

 

เขื่อนปากมูล เหตุแห่งความขัดแย้งในสังคมไทย

     สมศรี ชัยวณิชยา

 

ความคิดและภูมิปัญญาไทย  คำ : ร่องรอยความคิด ความเชื่อไทย

     สุวรรณา สถาอานันท์, เนื่องน้อย บุณยเนตร

 

ความคิดและภูมิปัญญาไทย ชุดการดูแลสุขภาพอนามัย

     คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

 

บทบาทของการศึกษาระดับอุดมศึกษาต่อการพัฒนาทางการเมืองของประเทศไทย พ.ศ. 2475 – พ.ศ. 2516

     ปิยนาถ บุนนาค, จันทรา บูรณฤกษ์

 

บทบาทของแผนกดุริยางค์ไทย (กองการสังคีต กรมศิลปากร) ต่อสถานภาพนักดนตรีไทยสมัยจอมพล ป.พิบูลย์สงคราม

     ภัทรวดี ภูชฏาภิรมย์

 

บทบาททางสังคมของภาษาไทยกับการปรับเปลี่ยนเป็นสมัยใหม่ของสังคมไทย

     อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์

 

บทบาทในด้านสังคม วัฒนธรรม และการเมืองของชนกลุ่มน้อยในกรุงรัตนโกสินทร์ความเป็นมาและความเปลี่ยนแปลงในรอบ 200 ปี : มอญ

     สุจริตลักษณ์ ดีผดุง, วิจิตร เกิดวิศิษฐ์, อรรถจินดา ดีผดุง, สุเอ็ด คชเสนี

 

ประวัติปัญหาสภาวะแวดล้อมในสมัยรัตนโกสินทร์

     สุรพล สุดารา, ศิริวรรณ ศิลาพัชรนันทน์, เยาวรัตน์ พุฒิมานรดีกุล, มัทยา จิตติรัตน์

 

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นของชาวลาวเวียงและลาวพวน ในอำเภอพนมสารคามและอำเภอสนามชัยเขต ฉะเชิงเทรา

     เพ็ญศรี ดุ๊ก, นารี สาริกะภูติ

 

พัฒนาการของพลศึกษาในประเทศไทยระหว่าง พ.ศ. 2325-2525

     ถนอมวงศ์ กฤษณ์เพ็ชร์

 

พัฒนาการของภาคเกษตรและผลกระทบต่อชาวไร่ชาวนาไทยในช่วงหลังสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 พ.ศ. 2536

     สมภพ มานะรังสรรค์

 

พุทธประเพณี บทบาทและความหมายสำหรับสังคมไทยปัจจุบัน

     มรรยา กิจสุวรรณ, วราภรณ์ จิวชัยศักดิ์

 

เภสัชกรรมแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ในรอบ 200 ปี

     ประโชติ เปล่งวิทยา

 

ร้อยปีคลองรังสิต

     ฉลอง สุนทราวาณิชย์, ธงชัย พรรณสวัสดิ์, วราภรณ์ จิวชัยศักดิ์, สุริชัย หวันแก้ว

 

วิวัฒนาการของหมู่บ้านมิตตคาม

     กีรติ บุญเจือ

 

วิวัฒนาการความเชื่อเรื่องมนุษย์กับธรรมชาติและปรากฎการทางธรรมชาติในภาคตะวันออกของไทย

     พรหมศักดิ์ เจิมสวัสดิ์

 

สถานภาพการศึกษาเรื่องประเพณีไทย ประเพณีเกี่ยวกับชีวิต

     วราภรณ์ จิวชัยศักดิ์

 

Political Business Cycles in Thailand, 1979-1992 : General Election and Currency in Circulation

     Anusorn Limmanee

 

การอนุรักษ์และสืบสานสมบัติวัฒนธรรมไทย

กีฬาพื้นเมืองไทย ศึกษาและวิเคราะห์ทางด้านพละศึกษา (เล่ม 2)

     ชัชชัย โกมารทัต

 

กีฬาพื้นเมืองไทย ภาคกลาง

     ชัชชัย โกมารทัต

 

กีฬาพื้นเมืองไทย ภาคเหนือ

     ชัชชัย โกมารทัต

 

กีฬาพื้นเมืองไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

     ชัชชัย โกมารทัต

 

กีฬาพื้นเมืองไทย ภาคใต้

     ชัชชัย โกมารทัต

 

ความคิดและภูมิปัญญาไทย ชุด ดุริยางคศิลป์

     สิริชัยชาญ ฟักจำรูญ, รอดช้างเผื่อน

 

แบบอย่างและวิวัฒนาการของจิตรกรรมฝาผนัง 200 ปี แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

     เพ็ญศรี ดุ๊ก, จุลทัศน์ พยาฆรานนท์

 

พุทธธรรมที่เป็นรากฐานสังคมไทย ก่อนสมัยสุโขทัยถึงก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง

     สุภาพรรณ ณ บางช้าง

 

เพลงพื้นบ้านท่าโพ : เนื้อหาดนตรีและการสืบทอด

     ณรุทธ์ สุทธิจิตต์

 

วิวัฒนาการของเพลงไทยสมัยรัตนโกสินทร์

     อรวรรณ บรรจงศิลป์, โกวิทย์ ขันธศิริ

 

วิวัฒนาการของศิลปหัตถกรรมในสังคมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ – เครื่องปั้นดินเผา เครื่องจักสาน ดอกไม้ประดิษฐ์

     สาวิตรี เจริญพงศ์

 

ศิลปหัตถกรรมของช่างทองเมืองเพชร : ความเป็นมาและสภาพปัจจุบัน

     วัฒนะ จูฑะวิภาต

 

หลักพุทธธรรมที่ใช้เป็นรากฐานของสังคมไทยในยุคเทคโนโลยีภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง

     ระวี ภาวิไล

 

Thai Women's Lives during the Late Ayutthaya and Early Rattanakosin Periods : the Study of Historical Evidence from Temple Murals

(วิถีชีวิตผู้หญิงไทยในช่วงสมันอยุธยาตอนปลายถึงต้นรัตนโกสินทร์ : การศึกษาจากภาพจิตรกรรมฝาผนัง)

     Napat Sirisambhand, Alec Gordon

 

ชีวิตและงานบุคคลสำคัญของไทย

ความเป็นครูสถิตในหทัยราช

     เรืองวิทย์ ลิ่มปนาท

 

ชีวประวัติของผู้บริหาร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2459 -2526.pdf

     รอง ศยามานนท์, เพ็ญศรี ดุ๊ก, ปิยนาถ บุนนาค, พูนเกศ จันทกานนท์

 

นโยบายทางด้านเศรษฐกิจของรัชในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

     วราภรณ์ จิวชัยศักดิ์

 

นามานุกรมศิลปินเพลงไทย ในรอบ 200 ปี แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

     พูนพิศ อมาตยกุล, พิชิต ชัยเสรี, อารดา กีระนันทน์, วชิราภรณ์ วรรณดี, ประพจน์ อัศววิรุฬหการ, จรวยพร สุเนตรวรกุล

 

แนวคิดทางการศึกษาของนักการศึกษาไทยในช่วงหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ปี 2475 ถึงปัจจุบัน

     ผกา สัตยธรรม, ลินจง อิมทรัมพรรย์, ศิริมาส ไทยวัฒนา

 

แนวพระราชดำริด้านการเมืองการปกครองของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

     กนก วงษ์ตระหง่าน

 

บทบาทของบุคคลสำคัญทางด้านเภสัชกรรมไทย ตั้งแต่ พ.ศ. 2475-2539

     หน่วยปฏิบัติการวิจัยเภสัชศาสตร์สังคม คณะเภสัชศาสตร์

 

สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

     สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 

 

วิธีการผลิตและเทคโนโลยีไทย

การศึกษาวิเคราะห์วิทยาศาสตร์และประยุกต์วิทยาพื้นบ้านไทย

     ฝ่ายวิจัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

 

ความคิดและภูมิปัญญาไทย ชุด ความเป็ยอยู่ และการทำมาหากิน.pdf

     ธเนศ ศรีสถิต, ธำรงเปรมปรีดิ์

 

หัตถกรรมไทย ความเป็นมาและการผลิตในปัจจุบัน ศึกษากรณี – การทำขลุ่ย

     วัฒนะ จูฑะวิภาต

 

หัตถกรรมไทย ความเป็นมาและการผลิตในปัจจุบัน ศึกษากรณี – การทำของเล่นไม้ระกำ

     วัฒนะ จูฑะวิภาต

 

หัตถกรรมไทย ความเป็นมาและการผลิตในปัจจุบัน ศึกษากรณี – การทำบาตรพระ

     วัฒนะ จูฑะวิภาต

 

หัตถกรรมไทย ความเป็นมาและการผลิตในปัจจุบัน ศึกษากรณี – ช่างปั้นหล่อพระ

     วัฒนะ จูฑะวิภาต

 

ระบบสวนรอบบ้านแบบดั้งเดิมในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา : ความสมเหตุผลทางนิเวศวิทยา

     จิรากรณ์ คชเสนี, นันทนา คชเสนี, เมือง โคกทุ่ง

 

กรุงเทพมหานคร

คลองในกรุงเทพฯ : ความเป็นมา การเปลี่ยนแปลงและผลกระทบต่อกรุงเทพฯ ในรอบ 200 ปี (พ.ศ. 2325-2425)

     ปิยนาถ บุนนาค, ดวงพร นพคุณ, สุวัฒนา ธาดานิติ

 

ความเชื่อและพิธีกรรมในวิถีชีวิตของชาวสวนคลองบางระมาด

     สุกัญญา สุจฉายา

 

ตลาดในกรุงเทพมหานคร : การขยายตัวและพัฒนาการ

     เกียรติ จิวะกุล, จตุรนต์ วัฒนผาสุก, สุวัฒนะ ธาดานิติ, ขวัญสรวง อติโพธิ, ชมพูนุท นาคีรักษ์, เนตรนภิศ นาควัชระ

 

ท่าเตียน – ปากคลองตลาด : พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลง

     อดิศักดิ์ น้อยสุวรรณ

 

บ้านในกรุงเทพฯ รูปแบบและการเปลี่ยนแปลงในรอบ 200 ปี (พ.ศ. 2325-2525)

     ผุสดี ทิพทัส, มานพ พงศทัต

 

พระราชวังและวังในกรุงเทพฯ

     มรว. แน่งน้อย ศักดิ์ศรี, ณพิศร กฤตติกากุล, ดรุณี แก้วม่วง

 

สำเพ็ง ความเป็นมาและการเปลี่ยนแปลง (พ.ศ. 2325-2475)

     ปิยนาถ บุนนาค

 

The Chinese Community in Bangkok : Continuity and Changes

    Pensri Duke, Piyanart Bunnag

 

 

 

ชนชาติไท

การศึกษาวิเคราะคำศัพท์ภาษาไทเหนือ

     นววรรณ พันธุเมธา, รุ่งอรุณ ทีฆชุณหเถียร, ตาวเชิงหวา, หูเหย่ฝาง

 

คำไทเมืองเติ๊ก

     นววรรณ พันธุเมธา, หว่าง เหลือง, เทพี จรัสจรุงเกียรติ

 

วัฒนธรรมข้าวของชนชาติไท : ภาพสะท้อนจาก ตำนาน นิทาน เพลง

     ประคอง นิมมานเหมินท์, ยรรยง จิระนคร, ศิราพร ณ ถลาง, สุกัญญา สุจฉายา

เบ็ดเตล็ด

การประเมินผลงานลูกเสือชาวบ้านในเขตจังหวัดภาคกลาง

     วิทยา สุจริตธนารักษ์, ม.ร.ว.พฤทธิสาณ ชุมพล

 

การพัฒนาสมุนไพรไทยด้านสาธารณสุขสมัยรัตนโกสินทร์ เล่ม 1

     โสภิต ธรรมอารี, มณฑิรา ตัณฑ์เกยูร

 

การพัฒนาสมุนไพรไทยด้านสาธารณสุขสมัยรัตนโกสินทร์ เล่ม 2

     โสภิต ธรรมอารี, มณฑิรา ตัณฑ์เกยูร

 

จันทบุรีและตราด กรณีพิพาทระหว่างไทยกับฝรั่งเศส

     ปิยนาถ บุนนาค, พวงเพชร สุรัตนกวีกุล

 

วิวัฒนาการของกฎหมายไทยในรอบ 200 ปี ภาค 1 ภาคทั่วไป

     สุนีย์ มัลลิกะมาลย์

 

วิวัฒนาการของกฎหมายไทยในรอบ 200 ปี ภาคกฎหมายมหาชนส่วนแพ่ง

     สุนีย์ มัลลิกะมาลย์

 

วิวัฒนาการของกฎหมายไทยในรอบ 200 ปี ภาคกฎหมายวิธีสบันญัติ

     สุนีย์ มัลลิกะมาลย์ และคณะ

 

วิวัฒนาการของสังคมวิทยาในรอบ 200 ปี ของกรุงรัตนโกสินทร์

     สัญญา สัญญาวิวัฒน์

 

 

เรื่องเล่าจากบทพระราชนิพนธ์พระมหาชนก : พลวัตของวรรณคดีเฉลิมพระเกียรติในสื่อร่วมสมัย

โครงการวิจัยเรื่อง "เรื่องเล่าจากบทพระราชนิพนธ์พระมหาชนก : พลวัตของวรรณคดีเฉลิมพระเกีนรติในสื่อร่วมสมัย" ได้รับทุนสนับจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ประจำปีงบประมาณ 2559 ดำเนินการโดย ดร. รัชนีกร รัชตกรตระกูล

 

 

 

เรื่องเล่าจากบทพระราชนิพนธ์พระมหาชนก: พลวัตของวรรณคดีเฉลิมพระเกียรติในสื่อร่วมสมัย

การดัดแปลงพระนิพนธ์ลิลิตตะเลงพ่ายเป็นบทหุ่นกระบอกจักรพันธุ์เรื่องตะเลงพ่าย

รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง การดัดแปลงพระนิพนธ์ลิลิตตะเลงพ่าย เป็นบทหุ่นกระบอกจักรพันธุ์เรื่องตะเลงพ่าย ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2562 ดำเนินการโดย ดร.รัชนีกร รัชตกรตระกูล

 

 

 

รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง การดัดแปลงพระนิพนธ์ลิลิตตะเลงพ่าย เป็นบทหุ่นกระบอกจักรพันธุ์เรื่องตะเลงพ่าย

 

 

 

 

ชม กิน ถิ่นน่าน

หนังสือ "ชม กิน ถิ่นน่าน" เรียบเรียงจากผลจากศึกษาของโครงการพัฒนาระบบนิเวศเพื่อการปกป้องแหล่งท่องเที่ยวและมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเพื่อความยั่งยืนตามเกณฑ์ Global Sustainable Tourism Council ในพื้นที่เมืองเก่าเชียงแสน จังหวัดเชียงราย และเมืองเก่าน่าน จังหวัดน่าน ปีงบประมาณ 2563 ซึ่งสถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดำเนินการร่วมกับมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง มีเป้าหมายสำคัญเพื่อจัดเก็บเนื้อหาเกี่ยวกับมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของพื้นที่เมืองเก่าทั้งสองตามประเด็นที่ UNESCO กำหนดไว้เป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับการเสนอขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เปรม สวนสมุทร เป็นหัวหน้าโครงการวิจัย 

 

หนังสือเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อเผยแพร่ข้อค้นพบส่วนหนึ่งจากการลงพื้นที่และสัมภาษณ์คนพื้นถิ่นน่าน ปราชญ์ชาวบ้าน และผู้ปฏิบัติวัฒนธรรม (practictioner) ให้ความกรุณาถ่ายทอดความรู้เพื่อบันทึกไว้เป็นสมบัติของชุมชน ซึ่งประโยชน์ต่อการทำความเข้าใจวิถีคิดและมรดกภูมิปัญญาของคนในชุมชนพื้นที่เมืองเก่าน่าน รวมถึงนักท่องเที่ยวที่สนใจข้อมูลเชิงวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของชุมชนท้องถิ่นเมืองเก่าน่าน สามารถนำไปศึกษาและทำความเข้าใจพร้อมๆ กับทำกิจกรรมการท่องเที่ยวที่ไม่รบกวนธรรมชาติและสภาพความเป็นอยู่ของคนในพื้นที่ดั้งเดิม 

 

 

 

ชม กิน ถิ่นน่าน

 

 

คลองพิจารณาแต่งถ้อยชนคำ

คลองพิจารณาแต่งถ้อยชนคำ : ลักษณะการวินิจฉัยและตัดสินคดีในสมัยพระเจ้าถือนา,พระเจ้าติโลกราช, และพระยายอดเชียงราย

 

     มณี พยอมยงค์

 

 

ส่วนหน้า

 

คลองพิจารณาแต่งถ้อยชนคำ

 

อธิบายคำศัพท์

 

 

 

คัมภีร์ราชศาสตร์คำสอนและอวหารภายเค้า

คัมภีร์ราชศาสตร์คำสอนและอวหารภายเค้า : จากคัมภีร์โบราณลานนาไทย

 

     มณี พยอมยงค์

 

 

ส่วนหน้า

 

คัมภีร์ราชศาสตร์คำสอนและอวหารภายเค้า

 

อธิบายคำศัพท์

 

 

 

จังหวัดลพบุรี / ประเพณีไทยเกี่ยวกับเทศกาลตรุษสารท

จังหวัดลพบุรี ของ ตรี อมาตยกุล และ ประเพณีไทยเกี่ยวกับเทศกาลตรุษสารท ของ เสฐิยรโกเศศ

 

     อนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพ นางขำ ตันติวงศ์ ณ เมรุวัดมกุฎกษัตริยาราม วันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2509

 

 

ส่วนหน้า

 

ประวัติ นางขำ ตันติวงศ์

 

จังหวัดลพบุรี ภูมิประเทศและสภาพทั่วไป

 

ประเพณีไทยเกี่ยวกับเทศกาลตรุษสารท

 

 

 

 

 

 

ตำนานพระยาเจือง

ตำนานพระยาเจือง หนังสือปริวรรตจากคัมภีร์ใบลาน ชุด ตำนานเมืองและกฏหมายลานนา

 

     คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

 

     ศูนย์ส่งเสริมและศึกษาวัฒนธรรมลานนาไทย วิทยาลัยครูเชียงใหม่

 

 

เล่มที่ 1

 

ส่วนหน้า เล่มที่ 1 

 

ตำนานพระยาเจือง การศึกษาทางประวัติศาสตร์

 

วิธีการอ่านเอกสารพระยาเจือง

 

ตำนานพระยาเจือง ผูกที่ 1

 

ตำนานพระยาเจือง ผูกที่ 2

 

ตำนานพระยาเจือง ผูกที่ 3

 

ตำนานพระยาเจือง ผูกที่ 4

 

ตำนานพระยาเจือง ผูกที่ 5

 

อธิบายศัพท์ เล่มที่ 1

 

 

เล่มที่ 2

 

ส่วนหน้า เล่มที่ 2

 

ตำนานพระยาเจือง ผูกที่ 6

 

ตำนานพระยาเจือง ผูกที่ 7

 

ตำนานพระยาเจือง ผูกที่ 8

 

ตำนานพระยาเจือง ผูกที่ 9

 

ตำนานพระยาเจือง ผูกที่ 10

 

ตำนานพระยาเจือง ผูกที่ 11

 

อธิบายศัพท์ เล่มที่ 2

ตำนานเมืองฝาง

ตำนานเมืองฝาง ภาคปริวรรต ลำดับที่ 12

 

     ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

 

 

ส่วนหน้า

 

ตำนานเมืองฝาง

 

ศัพทานุกรม

 

 

 

ตำนานระแวก

ตำนานระแวก ภาคปริวรรต ลำดับที่ 15

 

     ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

 

 

ส่วนหน้า

 

ธัมม์ตำนานระแวก

 

ศัพทานุกรม

 

 

ตำนานสิบห้าราชวงศ์

ตำนานสิบห้าราชวงศ์ ภาคปริวรรต

 

     โครงการศึกษาวิจัยคัมภีร์ใบลานในภาคเหนือ สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

 

 

เล่มที่ 1 ผูกที่ 1-2

 

ส่วนหน้า เล่มที่ 1

     

ตำนานสิบห้าราชวงศ์ ผูกที่ 1

 

ตำนานสิบห้าราชวงศ์ ผูกที่ 2

 

ภาคผนวก เล่มที่ 1 

 

 

เล่มที่ 2 ผูกที่ 3-5

 

ส่วนหน้า เล่มที่ 2

 

ตำนานสิบห้าราชวงศ์ ผูกที่ 3

 

ตำนานสิบห้าราชวงศ์ ผูกที่ 4

 

ตำนานสิบห้าราชวงศ์ ผูกที่ 5

 

ภาคผนวก เล่มที่ 2

 

ดรรชนีค้นเรื่อง เล่มที่ 2

 

 

เล่มที่ 3 ผูกที่ 6-7

 

ส่วนหน้า เล่มที่ 3

 

ตำนานสิบห้าราชวงศ์ ผูกที่ 6

 

ตำนานสิบห้าราชวงศ์ ผูกที่ 7

 

ต้นฉบับตำนานสิบห้าราชวงศ์

 

ดรรชนีค้นเรื่อง เล่มที่ 3

ธรรมศาสตร์เจ้าฟ้าหริภุญชัย

ธรรมศาสตร์เจ้าฟ้าหริภุญชัย ภาคปริวรรต ลำดับที่ 14

 

    ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

 

 

ส่วนหน้า

 

ธัมมสาตเจ้าฟ้าหริภุญชัย

 

ศัพทานุกรม

 

 

ธรรมศาสตร์และกฎหมายของพระยามังราย

ธรรมศาสตร์และกฎหมายของพระยามังราย

 

     มณี พยอมยงค์

 

 

ส่วนหน้า

 

กฎหมายพระยามังราย

 

อภิธานศัพท์

 

 

ประเพณีเนื่องในการแต่งงานบ่าวสาว

ประเพณีเนื่องในการแต่งงานบ่าวสาว

 

     เสฐียรโกเศศ

 

 

ส่วนหน้า

 

1 บทนำ

 

2 ลักษณะวิธีแต่งงาน

 

3 เฒ่าแก่ทาบทาม

 

4 ขันหมากหมั้น

 

5 คำว่าขันหมากและเรื่องทองหมั้น

 

6 ก.เฒ่าแก่ขันหมากหมั้น

 

7 ขันหมากแต่ง

 

8 เคลื่อนกระบวนขันหมาก

 

9 ปิดประตูขันหมาก

 

10 ก.เปิดเตียบ

 

11 รดน้ำตอนเย็น

 

12 ก.ตอนแต่งงานตามประเพณีเดิม

 

13 ก.เรื่องตักบาตรบ่าวสาว

 

14 นอนเฝ้าหอ

 

15 ก.ปูที่นอนและส่งตัวเจ้าสาว

 

16 พิธีเกี่ยวก้อย

 

ภาคผนวก

พระราชลัญจกรและตราประจำตัวประจำตำแหน่ง

พระราชลัญจกรและตราประจำตัวประจำตำแหน่ง

 

      พระยาอนุมานราชธน

 

 

ส่วนหน้า

 

พระราชลัญจกรและตราประจำตัวประจำตำแหน่ง

 

ตราประจำตัวประจำตำแหน่ง

 

รำไทยในศตวรรษที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

รำไทยในศตวรรษที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

 

     อรวรรณ ขมวัฒนา

 

รายงานวิจัย

 

 

เรื่องเบ็ดเตล็ด

เรื่องเบ็ดเตล็ด ของ เสฐิยรโกเศศ-นาคะประทีป

 

     อนุสรณ์ในการพระราชทานเพลิงศพ นายสุรพงศ์ เพ่งเขม้น ณ ฌาปนสถานวัดโสมนัสวิหาร วันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2513

 

 

ส่วนหน้า

 

ไว้อาลัย

 

คุณสุรพงศ์ เพ่งเขม้น

 

ประวัตินายสุรพงศ์ เพ่งเขม้น

 

1 หนึ่งสองสาม

 

2 เงือก-นาค

 

3 จิงโจ้มาโล้สำเภา

 

4 กินนร-คนธรรพ์

 

5 แม่ย่านาง

 

6 คำอธิบายเรื่องระเบ็งและกุลาตีไม้

 

7 ร้องรำทำเพลง

 

8 เรื่องกินโต๊ะจีน

 

9 นอกฟ้าป่าหิมพาน

อวหาร

อวหาร : ลักษณะกฎหมายเปรียบเทียบและการวินิจฉัยและพระวินัยบัญญัติและกฎหมายของบ้านเมือง

 

     มณี พยอมยงค์

 

 

ส่วนหน้า

 

อวหาร 25 เรื่อง

 

อภิธานศัพท์

 

 

 

เอกสารสมัยรัชกาลที่ 5 ว่าด้วยไปรษณีย์-โทรเลข

เอกสารสมัยรัชกาลที่ 5 ว่าด้วยไปรษณีย์-โทรเลข

 

 

ไปรษณีย์โทรเลขในประเทศไทย

 

มูลเหตุจัดการกรมไปรษณีย์โทรเลข พ.ศ. 2442

 

หนังสือเจ้าพระยาพลเทพ ถึงพระยาอัมรินทรฤาไชย เรื่องให้รวมการไปรษณีย์โทรเลขเข้าด้วยกัน

 

กฎหมายไปรษณีย์

 

พระราชกำหนดไปรษณีย์รัตนโกสินทร์ศก 116

 

การแก้ไขเพิ่มเติมพระราชกำหนดข้อบังคับไปรษณีย์โทรเลข

 

เอกสารชั้นต้นเกี่ยวกับกิจการสื่อสารโทรคมนาคมไทยจากสำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ พระนคร รัชกาลที่ 4 (พ.ศ. 2394-2411)

 

เอกสารชั้นต้นเกี่ยวกับกิจการสื่อสารโทรคมนาคมไทยจากสำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ พระนคร รัชกาลที่ 5 (พ.ศ. 2411-2453) เล่มที่ 1

 

เอกสารชั้นต้นเกี่ยวกับกิจการสื่อสารโทรคมนาคมไทยจากสำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ พระนคร รัชกาลที่ 5 (พ.ศ. 2411-2453) เล่ม 2

 

โค๊ดโทรเลข

 

ตำราตัวอักษรสำหรับบอกโทรเลข

 

จำนวนออฟฟิศโทรเลขในพระราชอาณาจักร

 

เปิดรับไปรษณีย์ธนาณัติและไปรษณีย์วัตถุในหัวเมืองฝ่ายเหนือ และมณฑลพายัพ

 

จะออกประกาศใช้ไปรษณีย์บรรณในนี้

 

ทำตั๋วไปรษณีย์และไปรษณีย์บัตร

 

สั่งทำตั๋วไปรษณีย์และไปรษณีย์บัตรครั้งที่ 2

 

ผลประโยชน์ค่าโทรเลข

 

เงินค่าคำโทรเลข

 

ไปรษณีย์และโทรเลขเรื่องเงินค่าคำโทรเลข

 

เงินผลประโยชน์กรมไปรษณีย์โทรเลข

 

มิสเตอร์เฮลเยลแสดงการทดลองติดตั้งโทรศัพท์

 

ขึ้นราคาเช่าโทรศัพท์เป็นเดือนละ 15 บาทในนี้

 

ใช้เครื่องโทรศัพท์อย่างใหม่

 

ติดโทรศัพท์ที่ออฟฟิศสวนดุสิตและเรื่องสายใช้ไม่สะดวก

 

 

การทำจัดเสาและวางสายโทรเลข

 

เมืองปราจิณบุรีตอบรายทางที่จะปักเสาสายโทรเลขใหม่

 

ค่าสายเตลิคราฟ

 

ว่าด้วยข้าหลวงอินซีเนียร์ตรวจทางสายโทรเลก 4 เมือง

 

ให้พระยาพิสุทธิธรรมชาตจัดหาเสาไม้แกนเปลี่ยนเสาสายโทรเลขใหม่

 

กรุงเก่า เมืองลพบูรี เมืองพรมบูรี เมืองจันบูรี เมืองไชยนาถ เมืองนโนรม เมืองพยุหคีรี เมืองนครหลวง เมืองกำแพงเพช เมืองตาก ให้ตรวจตราท้องเสาสายโทรเลขอย่าให้รกปกคลุมเปนอันตรายได้

 

หนังสือสัญญาจ้างอินยิเนียฝรั่งเศสทำสายโทรเลข

 

สายส่งโทรเลขระหว่างกรุงเทพฯ พนมเปญ

 

มีมาว่าด้วยสายเตลิคคราฟที่จะทำมาจากพม่า

 

บริษัทต่างประเทศขอทำสายโทรเลขกรุงเทพ-เขมร

 

จะสร้างสายเตลิคกราฟ

 

ราชการสายโทรเลขทางเมืองพระตะบองและไซง่อน

 

ว่าด้วยให้มิสเตอเดวิศซอนอินเยเนีย นายวิลเลียมล่าม ออกมาชี้แจงทำการสายโทรเลขเมืองกาญจนบุรี

 

ว่าด้วยให้ผู้ว่าราชการเมืองแต่งกรมการนำข้าหลวงอินชิเนียตรวจ์ทางสายเตลิคราฟ 3 ร่าง

 

ปฤกษาพระยาตรังกานู พระยากลัน พระยาตานี ว่าด้วยทำทางสายเตลิคราฟ

 

สารตราเจ้าพระยาอรรคเสนาฯ ถึงพระสัจจาพิรมย ข้าหลวงทำทางสายโทรเลข เรื่องการติดตั้งเครื่องสายโทรเลขในหัวเมืองฝ่ายทเลตวันตก

 

ฝรั่งเศสขอต่อสายโทรเลขและโทรศัพท์จากบ้านห้วยติดต่อกับเชียงแสน

 

การจัดวางสายโทรเลขไปยังหัวเมืองตะวันตก

 

การวางสายโทรเลขเข้าไปในเขตอาณานิคมอังกฤษในแหลมมลายู

 

ว่าด้วยให้พระยาไทรบุรีตัดเสาเตลิคราฟแต่งตัวไว้ในแขวงเมืองไทรบุรี

 

ที่ 742 เดินทาง ถึงพระยามหาอำมาตยและเจ้าเมืองกรมการหัวเมืองรายทางให้จัดกำลังภาหนส่งอินเยอเนีย

 

 

ข้าราชการและบุคลากรต่างๆ

 

ส่งพระราชบัญญัติประกาศเรื่องเจ้าพนักงานกรมไปรษณีย์

 

นาย Carlessen ผู้ช่วยอธิบดีกรมไปรษณีย์

 

นาย Ernest Kederer ผู้ตรวจการโทรเลขกรมไปรษณีย์โทรเลข

 

นาย Panckow ผู้จัดการไปรษณีย์และโทรเลข

 

นาย Myer ข้าราชการกรมไปรษณีย์และโทรเลข

 

นาย Saurat, Pelleng และ Julia ข้าราชการกรมไปรษณีย์โทรเลข

 

นาย Tringuss,Ighof, Myer ข้าราชการกรมไปรษณีย์โทรเลข

 

นาย Schelle Vallwaler และนาย Shlemin ข้าราชการกรมไปรษณีย์โทรเลข

 

นาย Herrman และ Wagner ข้าราชการกรมไปรษณีย์โทรเลข

 

นาย A.W.Cox ข้าราชการกรมไปรษณีย์โทรเลข

 

นาย A.Pavie, Biat, Edel, Dardart ข้าราชการกรมไปรษณีย์โทรเลข

 

นาย Wietengel และ Collmann ข้าราชการกรมไปรษณีย์โทรเลข

 

Mr.Herbert Hartman นายช่างวิทยุกรมไปรษณีย์

 

Jung ข้าราชการกรมไปรษณีย์ฯ

 

Mr.Jourdan

 

มิสเตอร์สตรัตส

 

การจ้างนายเฮอร์ปังเกาเอ็นจิเนียมาทำงานในกรมไปรษณีย์

 

จ้างคนเยอรมันมาเป็นเจ้าพนักงานรับราชการในกรมไปรษณีย์

 

จ้างอินยีเนียไฟฟ้ากรมไปรษณีย์โทรเลข

 

แก้ไขเปลี่ยนแปลงการต่างๆ ในกรมไปรษณีย์โทรเลข ศฏ 118 และจะเรียกชาวยุโรปเข้ามารับราชการอีก 4 คน

เมืองขุขันให้ส่งศพมิศเตอวัตชอนไลยแมนพนักงานทำทางสายโทรเลข กับบุตรภรรยา ทรัพย์สิ่งของ เข้ามา ณ กรุงเทพฯ

 

การเล่าเรียนของนายเขม นายสงบ นายเริ่ม เข้าเรียนโทรเลข (พ.ศ. 2431)

 

นายรองบำรุงขอเรียนวิชาไปรษณีย์

 

การพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์แก่แฮร์ไวเลอ

 

 

การประชุมและสัญญาไปรษณีย์โทรเลขสากล

 

จะมีการประชุมที่กรุงวอชิงตัน ปี 1920 ว่าด้วยวิทยุ โทรเลข และวิทยุโทรทัศน์

รัฐบาลสวีเดนเชิญรัฐบาลสยามให้ส่งผู้แทนไปในการประชุมนานาประเทศว่าด้วยสัญญาสากลไปรษณีย์

 

พระยานนทบุรีให้ ม.เกฮิเนียส เป็นผู้แทนรัฐบาลสยามไปประชุมสากลโทรเลข

 

พระองค์เจ้าปกฤษฎางค์ไปประชุมสากลไปรษณีย์กรุงลิสบอน

 

การประชุมสัญญาโทรเลขที่กรุงเบอร์ลิน

 

การประชุมคอนแวนซ์นเตลกราฟที่กรุงเบอร์ลิน

 

การประชุมโทรเลขในกรุงเบอร์ลิน

 

สากลโทรเลขนานาประเทศ

 

การประชุมเกลโทรเลขที่กรุงปารีส พ.ศ. 2468-2469

 

ประชุมโทรเลขสากลสมาคมโทรเลขปารีส

 

หนังสือสัญญาสากลไปรษณีย์ปารีส

 

ประชุมสากลไปรษณีย์โทรเลขที่กรุงเวียนนา

 

เมืองเข้าใหม่ในสากลไปรษณีย์

 

สากลไปรษณีย์

ถวายหนังสือสัญญาสากลโทรเลขมาให้ทรงตรวจ

 

สัญญาไปรษณีย์ 3 ปึก

 

ประทับตราหนังสือสัญญาสากลไปรษณีย์

 

สายโทรเลขใต้น้ำรวมเข้าในสัญญานานาประเทศ

 

การรับส่งธนาณัติกับต่างประเทศ

 

ถวายรายงานต่างๆ ประชุมสากลโทรเลข

 

รายงานของพระสรรพกิจปรีชาผู้แทนสยามในการประชุมสัญญาสากลไปรษณีย์

 

รายงานของพระสรรพกิจปรีชาผู้แทนสยามในการประชุมสัญญาสากลไปรษณีย์กรุงสต๊อกโฮล์ม (กต.96.4.12) ปึกที่ 2

 

รายงานจากผู้แทนรัฐบาลสยามที่เข้าร่วมประชุมสัญญาสากลไปรษณีย์กรุงเมดริด

 

รายงานการไปประชุมไปรษณีย์สากลที่กรุงเวียนนา

 

Detailed Regulations

 

Report on the Postal in Vienna

 

Union Postale Universalle 1

 

Union Postale Universalle 2

 

 

กิจการด้านการต่างประเทศ

 

พระยาประสิทธิ์ขอตำราโทรเลขลับกระทรวงมหาดไทยไปไว้ใช้สำหรับสถานฑูตลอนดอน

 

สัญญาการส่งไปรษณีย์ระหว่างพระตะบองกับพนมเปน

 

The Eastern Telegraph Company, Limited.

 

Foreign Office 20 Oct 90 Bangkok

 

สัญญาไปรษณีย์วัตถุระหว่างสยามกับอินโดไชนา

 

รัฐบาลสเปญออกข้อบังคับว่าด้วยห้ามการรับส่งโทรเลขและโทรศัพท์

 

การรับส่งเงินทางธนาณัติกับนานาประเทศ พ.ศ. 2458-2459

 

บริษัทมารโคนีส่งสมุดรายงานวิทยุโทรเลข

 

กรมไปรษณีย์โทรเลขจะทำสัญญาว่าด้วยการธนาณัติกับฟิลิปปินส์

 

ทำการตกลงการเปิดรับส่งวิทยุโทรเลขระหว่างประเทศสยามกับหมู่เกาะชวา

 

ลดอัตราค่าคำโทรเลขระหว่างอินเดียพม่าสยาม

 

ประกาศเพิ่มเติมการฝากหนังสือจีนทางไปรษณีย์

 

ที่เมืองกัลตัดตาตั้งสถานีวิทยุสังคีต

 

ตั้งไปรษณีย์ตามหัวเมืองลาวฝ่าย-ไทย ฝรั่งเศส ริมน้ำโขงฝ่ายเหนือ

 

พระดำริว่าในการปิดวิทยุโทรเลขในเรือของชาติต่างๆ ในเขตท่าสยาม

 

อังกฤษขอทราบเครื่องวิทยุโทรเลขที่กรุงเทพและสงขลา

 

รัฐบาลเตรสเซตเติลเมนต์หยุดรับส่งไปรษณีย์ไปเยอรมัน ออสเตรีย ฮังการี

 

การตรวจตัดหนังสือแลโทรเลขในเวลาสงคราม ตอน 1 (พ.ศ. 2460)

 

การตรวจตัดหนังสือแลโทรเลขในเวลาสงคราม ตอน 2

 

ห้ามและริบไปรษณียบัตรของสภากาชาดตุรกี พ.ศ. 2460

 

บริษัทเยอรมันเพียรที่จะเก็บข่าวสถานีวิทยุโทรเลขต่างๆ พ.ศ. 2460

 

กระทรวงกลาโหมขอใช้โทรเลขคำโค๊ด พ.ศ. 2460

 

เยอรมันร้องว่าอังกฤษจัดการห้างหรือบริษัทของประเทศกลางไม้ต้องด้วยธรรมะระหว่างประเทศ

 

ทูตไทยที่กรุงโรมรายงานการส่งหนังสือราชการระหว่างสงครามกรุงโรมกับกรุงเบอร์ลินโดยผ่านประเทศสวิตเซอร์แลนด์

 

อังกฤษกับญี่ปุ่นขอให้ทำเครื่องหมายหลังซองเพื่อป้องกันการค้นเปิดหนังสือในเวลาสงคราม

 

กรมไปรษณีย์อังกฤษเอาหนังสือสถานทูตลอนดอนใส่มาในถุงเมล์ของสถานทูตอังกฤษ

 

อังกฤษเลิกการตรวจโทรเลขและข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวกับการนี้

 

อังกฤษแจ้งความคืนเงินค้าโทรเลขที่อังกฤษกักไว้เกินเวลา

 

 

ปัญหาและข้อร้องเรียนต่างๆ

 

เมืองพระตะบองและเมืองศรีโสพลให้นายจุยเจ้าหน้าที่ไปรสนีออกมาจัดการเปิดไปรสนี

 

เมืองปาจิณบุรีตอบรายเกณฑ์เลขรักษาสายโทรเลขเมืองภรรยาหลวงบันเทาขัดเอาตัวเลขไว้

ถึงเมืองปทุมธานีให้เจ้าพนักงานคุมเครื่องสายโทรเลขขึ้นไปส่งให้ทำ

 

โทรเลขรายงานราชการของพระยาคทาธรธรนินทร์

 

หม่อมเทวาธิราชยื่นความเห็นในการโทรเลข

 

ฝรั่งเศสร้องว่าเจ้าพนักงานส่งโทรเลขที่มีถึงกงศุลเมืองอุบล

 

ผู้จัดการกำปนีวังหลีจดเวลาเรือสุลต่านออกคลาดเคลื่อนทำให้การไปรษณีย์ค้างช้าเวลาไป

 

มองซิเออร์เดอร์ฟรานส์ราชทูตฝรั่งเศ ร้องว่าสายโทรเลขของไทยเสียบ่อย

 

มิสเตอร์เบอเกร้องว่าเมล์มณฑลตะวันตกเฉียงเหนือไปไม่ถึงตามกำหนด

 

ฝรั่งเศสร้องว่าพนักงานไปรษณีย์ที่เชียงของไม่มารับหนังสือและจะจัดการส่งไปรษณีย์ข้ามแดนกันต่อไป

เหตุการรับส่งโทรเลขระหว่างจันทบุรีกับกรุงปารีสล่าช้า

 

 

เบ็ดเตล็ด

 

รวมโทรเลขของกระทรวงมหาดไทย (ในส่วนที่เกี่ยวกับกระทรวงการต่างประเทศ)

 

โทรเลขเรซิเดนท์เมืองปีนังมีมาทูลเกล้าฯ ถวายและมีตอบไปด้วย

 

โทรเลขพระราชทานพระเจ้าสุลต่านเมืองเตอร์กี

 

โทรเลขพระยาศรีสหเทพ

 

โทรเลขจากบอมเบย์

 

ร่างโทรเลขของกรมหลวงดำรงฯ ถึงสุลต่านขอให้ระงับการเดินทางมาเฝ้าที่ตรัง

 

พระราชโทรเลขผู้รักษาพระนครคราวเสด็จฯ ยุโรป รศ. 116

 

โทรเลขตามที่สมเด็จพระบรมราชินีนาถพระราชทานออกมา

 

มอบให้หม่อมเจ้าดนัยเชนส่งโทรเลขได้

 

เมืองพระตบองให้จัดให้นายชมเข้ารับการบอกคำโทรเลขที่เมืองพระตะบองโดยเรว

 

ม.เดอร์ฟรานซ์จากพนมเปนแสดงความขอบพระคุณที่ข้าหลวงรับรองเยเนราลและราชทูตได้ไปเที่ยวนครวัด

 

มีมาส่งหนังสือคำเตลิคคราฟทูตสยามที่เมืองกะลากะตา

 

สำเนาหนังสือมิสเตอลอบเติศถึงเจ้าพนักงานเตลิกราปเมืองอินเดีย

 

โทรเลขถึงองค์สวัสดิ์และจะไปรุสเซีย

 

รายงานข่าวสายออฟฟิศโทรเลขกรุงเทพฯ

โทรเลขจากพระตะบอง

 

บาญชีโทรเลขระหว่างเสด็จพระราชดำเนินประเทศยุโรปจำนวนเดือนพฤษภาคม รัตนโกสินทร์ศก 116

 

โทรเลขเรื่องการเสด็จพระราชดำเนินจากประเทศอังกฤษมาถึงปิเตียร์กอฟของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ

 

กรมเจ้าท่าอาศัยที่ของกรมไปรษณีย์

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ สถาบันไทยศึกษา

วัฒนธรรมพื้นบ้าน คติความเชื่อ

     สถาบันไทยศึกษา

 

วัฒนธรรมพื้นบ้าน ภาษา

     สถาบันไทยศึกษา

 

วัฒนธรรมพื้นบ้าน ศิลปกรรม

     สถาบันไทยศึกษา

 

เอกสารประกอบการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง ภูมิปัญญาไทย

     สถาบันไทยศึกษา

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านเภสัชกรรม

ตำรายาสมุนไพรลานนา

     สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

 

ตำราเวชศาสตร์ (ยาโบราณ) จากสมุดข่อย

     เรี่ยม ศรีทองเพชร